เต้าหู้จากเม็ดกระถินยักษ์

 

                      รูปที่1:Scimath ต้นกระถินยักษ์
      ที่มา    https://www.scimath.org › item

 โครงงานนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ สารตกตะกอนที่เหมาะสมคือ แมกนีเซียมคอลไรด์ (MgCl2) ในการทดลองใช้ความเข้มข้น 40% โดยมวล/ปริมาตร ปริมาตรที่เติมเหมาะสมคือ 12 cm3 โดยได้น้ำหนักเต้าหู้เฉลี่ย 58.33 กรัม ส่วนการทำเต้าหู้จากถั่วเหลืองที่ใช้เปรียบเทียบนั้น ใช้เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต ซึ่งเป็นสารที่เหมาะสมในการตกตะกอนที่ความเข้มข้น 40% โดยมวล/ปริมาตร จำนวน 12 cm3 เท่ากัน ได้เต้าหู้ 138.03 กรัม และได้น้ำหนักเต้าหู้ 147.7 กรัม เมื่อใช้สารตกตะกอนจำนวน 16 cm3 ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนในเมล็ดกระถินยักษ์ ถั่วเหลือง เต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ และเต้าหู้จากถั่วเหลือง มีปริมาณโปรตีนเป็นกรัมต่ออาหารแห้ง 100 กรัม คือ 16.69 , 29.81 , 6.88 และ 13.44 กรัมตามลำดับ สำหรับเต้าหู้ที่ได้ยังมีลักษณะไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากได้ปริมาณน้อย ค่อนขางเหลวและมีความยืดหยุ่นน้อย

                ชื่อ 
เต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์

   ใช่ความรู้ในเรื่องใดในการกระทำ
การทำเต้าหู้เป็นกระบวนการผลิตที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนมาก 

               ประโยชน์
โปรตีนสูง เป็นอาหารอุดมไปด้วยโปตีน
                มีโทษ
รับประทานมากไปส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์
           อ้างอิง
สืบค้นเมื่อวันที่13สิงหาคม พ.ศ.2564

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น